ประเทศสิงคโปร์

สิงคโปร์(Singapore)
ประวัติความเป็นมาของประเทศสิงคโปร์
ช่วงต้น
ประวัติศาสตร์ของสิงคโปร์ก่อนศตวรรษที่ 14 มิได้ถูกบันทึกอย่างชัดเจนและแน่นอนนัก ในช่วงศตวรรษที่ 14 สิงคโปร์อยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรมัชฌาปาหิตแห่งชวา ต่อมาในต้นศตวรรษที่ 15 ก็อยู่ภายใต้การยึดครองของอาณาจักรสยาม จนถูกประมุขแห่งมะละกาเข้ามาแย่งชิงไป และเมื่อโปรตุเกสเข้ายึดครองมะละกา สิงคโปร์ก็กลายเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกสในราวปี ค.ศ. 1498 และต่อมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของฮอลันดาในช่วงศตวรรษที่ 17
สิงคโปร์เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ปลายสุดแหลมมาลายู เป็นสถานพักสินค้าของพ่อค้าทั่วโลก เดิมชื่อว่า เทมาเส็ก (ทูมาสิค) มีกษัตริย์ปกครอง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้มีเจ้าผู้ครองนครปาเล็มบังเดินทางแสวงหาดินแดนใหม่เพื่อสร้างเมือง แต่เรือก็อับปางลง พระองค์ได้ว่ายน้ำขึ้นฝั่ง แล้วก็เห็นสัตว์ชนิดหนึ่งมีรูปร่างลำตัวสีแดงหัวดำหัวคล้ายสิงโตหน้าอกขาว พระองค์จึงถามคนติดตามว่า สัตว์ตัวนั้นคืออะไรคนติดตามก็ตอบว่ามันคือ สิงโต พระองค์จึงเปลี่ยนชื่อเทมาเส็กเสียใหม่ว่า สิงหปุระ ต่อมาสิงหปุระก็ได้ตกเป็นของสุลต่านแห่งมะละกา
ยุคการอาณานิคม
ประเทศแรกที่มายึดสิงคโปร์ไว้ได้คือโปรตุเกส เมื่อปี ค.ศ. 1511 แล้วก็ถูกชาวดัตช์มาแย่งไป เมื่ออังกฤษขยายอิทธิพลเข้ามาบริเวณแหลมมลายูในกลางศตวรรษที่ 18 แต่ประมาณปี ค.ศ. 1817 สหราชอาณาจักรได้แข่งขันกับดัตช์ในเรื่องอาณานิคม อังกฤษได้ส่งเซอร์ โทมัสสแตมฟอร์ดแรฟเฟิลส์ มาสำรวจดินแดนแถบสิงคโปร์ ตอนนั้นสิงคโปร์ยังมีสุลต่านปกครองอยู่ แรฟเฟิลส์ได้ตกลงกับสุลต่านฮุสเซียนชาห์ว่า จะตั้งสถานีการค้าของอังกฤษที่นี่ แต่สุดท้ายอังกฤษยึดสิงคโปร์ไว้เป็นเมืองขึ้นได้ และ ก่อตั้งประเทศในปี ค.ศ. 1819 โดยอังกฤษได้ขอเช่าเกาะสิงคโปร์จากจักรวรรดิ์ยะโฮร์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลันดา ในปี 1824 อังกฤษมีสิทธิครอบครองสิงคโปร์ตามข้อตกลงที่ทำกับฮอลันดา ต่อมาในปี ค.ศ. 1826 สิงคโปร์ถูกปกครองภายใต้ระบบสเตรตส์เซ็ตเติลเมนท์ (Straits Settlement) ซึ่งบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษควบคุมดูแลสิงคโปร์ รวมทั้งปีนัง และ มะละกาด้วย ต่อมาในปี ค.ศ. 1857 รัฐบาลอังกฤษได้เข้ามาดูแลระบบนี้เอง ในปี ค.ศ. 1867 สิงคโปร์กลายเป็นอาณานิคม (Crown Colony) อย่างสมบูรณ์
อาณานิคมแบบเอกเทศ
ค.ศ. 1946 จึงได้รับการยกฐานะให้เป็นอาณานิคมแบบเอกเทศ (Separate Crown colony) เมื่ออังกฤษกลับมาควบคุมสิงคโปร์อีกครั้งหนึ่ง ภายหลังจากที่สิงคโปร์อยู่ภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1942-1946)
การรวมชาติเข้ากับมาเลเซีย
เมื่อสิงคโปร์เห็นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมลายูกลายเป็นสหภาพมลายาทันที เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษอีก แต่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลเซียมากนักเพราะมีการเหยียดชนชาติกัน ทำให้พรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกราชตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ตั้งแต่บัดนั้นมาในชื่อ สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมื่อแยกตัวออกมาแล้วพรรคกิจประชาชนก็ครองประเทศมาตลอดจนถึงทุกวันนี้
ดอกไม้ประจำชาติสิงคโปร์
ดอกกล้วยไม้แวนด้า
กล้วยไม้ในกลุ่มแวนด้า เป็นดอกไม้ประจำชาติของ สาธารณรัฐสิงคโปร์
ลักษณะทั่วไปแวนด้าเป็นกล้วยไม้ประเภทโมโนโพเดี้ยล ไม่แตกกอ เจริญเติบโตไปทางยอด
รากเป็นรากอากาศ
ใบใบมีลักษณะกลม แบนหรือร่อง ใบซ้อนสลับกัน
ดอกสีม่วงและรูปลักษณ์ที่สวยงาม
ด้านภูมิทัศน์พบได้ทั่วไปในประเทศสิงคโปร์
อาหารประจำชาติสิงคโปร์
ลักซา
ลักซา (Laksa)อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยำใส่กะทิ ทำให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้ง พริก กุ้งต้ม และหอยแครง เหมาะสำหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเลเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม ลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยมมากกว่า
คำทักทายของชาติสิงคโปร์
คำศัพท์
|
คำอ่าน
|
สวัสดี
|
หนี ห่าว
|
อากาศดีจัง
|
เทียน ชี เหิ่นห่าว
|
สบายดีไหม
|
หนี ห่าว
|
พบกันใหม่
|
ไจ้เจี้ยน
|
ขอบคุณ
|
ซี่ยยเซี่ย
|
นอนหลับฝันดี
|
หวาน อัน
|
เชิญ
|
ฮวน หยิง
|
ไม่เป็นไร
|
เหมยเฉินเมอ
|
ยินดีที่ได้รู้จัก
|
เหิ่น เกา ซิ่งเริ่น ชื่อ หนี่
|
ลาก่อน
|
ไจ้เจี้ยน
|
ใช่
|
ชื่อ
|
ไม่ใช่
|
บู๋ชื่อ
|
อากาศร้อนมาก
|
เทียน ชี เหิ่น เร่อ
|
อากาศหนาวมาก
|
เทียน ชี เหิ่นเหลิ่ง
|
ชุดประจำชาติสิงคโปร์
ชุดเกบาย่า
สิงคโปร์ไม่มีชุดประจำชาติเป็นของตนเอง เนื่องจากประเทศสิงคโปร์แบ่งออกเป็น 4 เชื้อชาติหลัก ๆ ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาวยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจำชาติเป็นของตนเอง เช่น ผู้หญิงมลายูในสิงคโปร์ จะใส่ชุดเกบาย่า (Kebaya)ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลายลูกไม้ หากเป็นชาวจีน ก็จะสวมเสื้อแขนยาว คอจีน เสื้อผ้าหน้าซ่อนกระดุม สวมกางเกงขายาว โดยเสื้อจะใช้ผ้าสีเรียบหรือผ้าแพรจีนก็ได้
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศสิงคโปร์
เมอร์ไลออน (Merlion)
เมอร์ไลออน หรือ สิงโตทะเล ถูกออกแบบขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของคณะกรรมการการท่องเที่ยวของสิงคโปร์ (Singapore Tourism Board - STB) ในปี 1964 – รูปปั้นนี้มีหัวเป็นสิงโต ร่างเป็นปลา ยืนอยู่บนยอดคลื่น ต่อมาไม่นานทั่วโลกก็ถือกันว่าสิงโตทะเลตัวนี้คือเครื่องหมายประจำชาติสิงคโปร์แต่เดิมรูปปั้นนี้ตั้งอยู่ที่สวนสิงโตทะเล (Merlion Park) ข้างสะพานเอสพลาเนด (Esplanade Bridge) แม่สิงโตและลูกสิงโตได้กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยว มีการจัดพิธีติดตั้งสิงโตทะเลในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1972 โดยมีประธานในพิธีคือนายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ ณ เวลาดังกล่าว ซึ่งก็คือ นายลี กวน ยูสิงโตตัวนี้สูง 8.6 เมตร มีน้ำหนัก 70 ตัน ทำจากวัสดุจำพวกซีเมนต์ โดยช่างฝีมือชาวสิงคโปร์ผู้เสียชีวิตไปแล้วที่ชื่อนายลิมนังเซ็ง ส่วนรูปปั้นสิงโตทะเลตัวที่สองจะมีขนาดเล็กกว่า ขนาดสูง 2 เมตรและหนัก 3 ตัน ก็ถูกสร้างขึ้นโดยนายลิมเช่นกัน ตัวสิงโตทำจากวัสดุจำพวกซีเมนต์ ผิวหนังทำจากแผ่นกระเบื้อง และตาทำจากถ้วยชาสีแดงขนาดเล็กผู้ออกแบบคือนายฟราเซอร์บรูนเนอร์ (Mr Fraser Brunner) เป็นผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำแวนคลีฟ หัวรูปปั้นเป็นสิงโตหมายถึงสิงโตที่เจ้าชายซางนิลาอุตามะเคยเห็นตอนที่พระองค์พบเกาะซีงาปุระในปี ค.ศ. ที่ 11 ตามบันทึกของชาวมาเลย์ ส่วนหางที่เป็นปลาคือสัญลักษณ์ของเมืองโบราณเทมาเซ็ค (หมายความว่า "ทะเล" ในภาษาชวา) ซึ่งสิงคโปร์ถูกค้นพบมาแล้วก่อนที่เจ้าชายนิลาจะตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "ซีงาปุระ" (หมายความว่า "สิงโต" (สิงห์) และ "เมือง" (ปุระ) ในภาษาสันสกฤต) นอกจากนี้ยังหมายถึงจุดเริ่มต้นอันต่ำต้อยของสิงคโปร์ที่ในอดีตเคยเป็นหมู่บ้านชาวประมง
ยูนิเวิร์ลซัล สตูดิโอ (Universal Studio)
สวนสนุกชื่อดังในเขตเซนโตซา (Sentosa) ถึงแม้ว่าจะเป็นสาขาของสวนสนุกระดับอินเตอร์เนชั่นแนลจากฝั่งอเมริกา แต่เครื่องเล่นในสวนสนุกจำนวน 18 ชนิดจากทั้งหมด 24 ชนิด ใน 7 โซนประเภทเครื่องเล่น ได้ถูกออกแบบและปรับแต่งให้เข้ากับอรรถรสของนักท่องเที่ยวท้องถิ่นและความนิยมของชาวสิงคโปร์โดยเฉพาะ ถือเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของยูนิเวิร์ลซัล สตูดิโอ แห่งนี้
โรงละครเอสพลานาด (Esplanade)
โรงละคร Esplanade (ตึกหนามทุเรียน) โรงละครเอสพลานาด(Esplanade) คือโรงละครบนชายหาดและยังเป็นศูนย์แสดงศิลปะ ที่ได้รับความนิยมที่สุดในโลกแห่งหนึ่งของสิงคโปร์ ออกแบบขึ้นเพื่อให้เป็นสัญลักษณ์แห่งการเชื่อมต่ออันทรงคุณค่าระหว่างอดีตและปัจจุบัน เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 เดือนตุลาคม ค.ศ2002
วัดพระเขี้ยวแก้ว (Tooth Relic Buddha Temple)
วัดจีนศิลปกรรมสมัยราชวงศ์ถังผสมศิลปะมันดาลา (Mandala) หลังใหญ่โตอลังการ ตั้งตระหง่านอยู่ในไชน่าทาวน์ (China Town) ซึ่งอาคารชั้นบนสุดของวัดได้บรรจุพระสารีริกธาตุพระทนต์ของพระพุทธเจ้าไว้ในสถูปทองคำหนักกว่า 320 กิโลกรัม ที่ได้มาจากการบริจาคของผู้มีจิตศรัทธา นอกจากนี้ภายในวัดก็ยังมีพิพิธภัณฑสถานทางพุทธศาสนาขนาดย่อม ให้ผู้มาสักการะได้ศึกษา และเยี่ยมชมอีกด้วย

Sentosa
อะไรที่อยู่บนเกาะเมืองที่มีแต่รีสอร์ทหรู? ถ้าท่านกำลังมองหาแนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการท่องเที่ยวในช่วงชั่วโมงเร่งด้วยจากเมือง ซึ่ง Sentosa อาจจะเป็นตัวเลือกหนึ่งที่คุณสนใจ เกาะที่มีแต่รีสอร์ทสวย บาร์ตามชายหาด, รูปแบบของกีฬาให้เลือกเล่นที่หลากหลาย และสนามกอล์ฟ และไปเติมเต็มความสุขและความตื่นตาตื่นใจจาก the Universal Studios theme park และ the Resorts
Worlds Sentosa casino.


Resorts
World Sentosa
Resorts World Sentosa ได้เตรียมความสนุกสนานมากมายให้ทุกครอบครัวได้มาสัมผัสปอดแนวใหม่ของสิงคโปร์ มีพื้นที่สำหรับการเล่นพนัน15,000 sq m โดยมีมื้ออาหารค่ำให้เลือกมากมายระหว่างการเล่น, ร้านค้าหรู, สปาและโรงแรมที่มีภาพลักษณ์ที่น่าจดจำอีก 6 แห่ง และอาจจะจบทริปที่Universal Studios Singapore
ก็ได้

Resorts World Sentosa ได้เตรียมความสนุกสนานมากมายให้ทุกครอบครัวได้มาสัมผัสปอดแนวใหม่ของสิงคโปร์ มีพื้นที่สำหรับการเล่นพนัน15,000 sq m โดยมีมื้ออาหารค่ำให้เลือกมากมายระหว่างการเล่น, ร้านค้าหรู, สปาและโรงแรมที่มีภาพลักษณ์ที่น่าจดจำอีก 6 แห่ง และอาจจะจบทริปที่Universal Studios Singapore


Marina Bay Sands
เป็นศูนย์รวมความบันเทิงแห่งใหม่ในเอเซีย, Marina Bay Sands
เปิดรับนักท่องเที่ยวอยู่ตลอดเวลา เป็นศูนย์รวมของอาหารค่ำแสนอร่อย, ความบันเทิง, สิ่งอำนวยความสะดวก, และมีสินค้าให้เลือกช้อปปิ้งมากมาย ได้ลิ้มรสกับสุดยอดอาหารจากฝีมือเชฟระดับโลก ณ ร้านอาหารที่มีชื่อเสียงในแถบนี้ ขอให้ท่านสนุกกับการช้อปปิ้งจากแบรนด์ดังนานาชาติ สินค้าชั้นนำมากมาย และสามารถพักผ่อนเพื่อเข้ามาเล่นเกมส์เสี่ยงโชคมากมายด้วย
เป็นศูนย์รวมความบันเทิงแห่งใหม่ในเอเซีย, Marina Bay Sands


Singapore Flyer

Chinatown
ย่านหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในสิงคโปร์, Chinatown ยังคงเป็นประวัติศาสตร์ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ของชาวจีนในประเทศนี้อยู่ จากส่วนผสมที่ลงตัวระหว่างความเก่าแก่และความหรูหราทันสมัย เป็นจุดหนึ่งที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด การเยี่ยมชมมรดกของ the Chinatown Heritage Centre เป็นวิธีที่ดีที่เราได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของชาวจีนในสิงคโปร์ได้มากยิ่งขึ้น ถือได้ว่าเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งในสิงคโปร์
ย่านหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในสิงคโปร์, Chinatown ยังคงเป็นประวัติศาสตร์ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ของชาวจีนในประเทศนี้อยู่ จากส่วนผสมที่ลงตัวระหว่างความเก่าแก่และความหรูหราทันสมัย เป็นจุดหนึ่งที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด การเยี่ยมชมมรดกของ the Chinatown Heritage Centre เป็นวิธีที่ดีที่เราได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของชาวจีนในสิงคโปร์ได้มากยิ่งขึ้น ถือได้ว่าเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งในสิงคโปร์

Little India
หากคุณกำลังมองหาถึงประสบการณ์แปลกใหม่, Little India เป็นคำตอบหนึ่งที่ดีสำหรับการท่องเที่ยว เนื่องด้วยสถานที่ที่อยู่ที่ได้ค้นพบรากเหง้าของชาวเอเชียใต้จากประวัติศาสตร์สิงคโปร์ เป็นเรื่องที่ทำให้เกิดความหลงไหลในan array of colourful saris, นกแก้วทำนายอนาคต, โบสถ์ฮินดูเก่าแก่, ธูปฉุนและเครื่องเทศ, and the latest Bollywood tunes amid ได้เป็นสิ่งที่ประดับให้เห็นในร้านโดยทั่วไปในย่านนี้
หากคุณกำลังมองหาถึงประสบการณ์แปลกใหม่, Little India เป็นคำตอบหนึ่งที่ดีสำหรับการท่องเที่ยว เนื่องด้วยสถานที่ที่อยู่ที่ได้ค้นพบรากเหง้าของชาวเอเชียใต้จากประวัติศาสตร์สิงคโปร์ เป็นเรื่องที่ทำให้เกิดความหลงไหลในan array of colourful saris, นกแก้วทำนายอนาคต, โบสถ์ฮินดูเก่าแก่, ธูปฉุนและเครื่องเทศ, and the latest Bollywood tunes amid ได้เป็นสิ่งที่ประดับให้เห็นในร้านโดยทั่วไปในย่านนี้

Orchard Road
คนที่รักในการช้องปิ้งต้องไม่พลาด Orchard Road, เป็นย่านเศรษฐกิจสำคัญของสิงคโปร์ เป็นแห่งช้องปิ้งที่มีอยู่ตลอดแนวของถนน โดยมีแบรนด์ดังๆ ต่างๆ มากมายเข้ามานำเสนอให้กับลูกค้าในทุกๆ ระดับ หรือ เป็นการเน้นในกลุ่มลูกค้าโดยรวมกัน ผู้ที่ได้มาเยือน Orchard Road เรียกว่าเดินช้อปปิ้งกันให้หมดแรงกันไปข้างหนึ่งเลยทีเดียว ส่วนเรื่องของสินค้ารับรองได้ว่าเห็นหรือถูกใจสามารถเลือกซื้อได้จากย่านนี้ได้ทันที
คนที่รักในการช้องปิ้งต้องไม่พลาด Orchard Road, เป็นย่านเศรษฐกิจสำคัญของสิงคโปร์ เป็นแห่งช้องปิ้งที่มีอยู่ตลอดแนวของถนน โดยมีแบรนด์ดังๆ ต่างๆ มากมายเข้ามานำเสนอให้กับลูกค้าในทุกๆ ระดับ หรือ เป็นการเน้นในกลุ่มลูกค้าโดยรวมกัน ผู้ที่ได้มาเยือน Orchard Road เรียกว่าเดินช้อปปิ้งกันให้หมดแรงกันไปข้างหนึ่งเลยทีเดียว ส่วนเรื่องของสินค้ารับรองได้ว่าเห็นหรือถูกใจสามารถเลือกซื้อได้จากย่านนี้ได้ทันที

Singapore Botanic Gardens
มีสิ่งมีชีวิตอยู่มากกว่า 3,000 สายพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของต้นไม้เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนซึ่งเป็นหัวใจหรือปอดของเมืองใหญ่ที่มีแต่ความวุ่นวายเหล่านี้ ไม่น่าแปลกใจที่จะมี นักวิ่ง, คนรำไทเก็ก และผู้ที่เข้ามานั่งเล่น และปิกนิกกันในสวนแห่งนี้ในช่วงวันหยุด ซึ่งเป็นการพักผ่อนที่ดี เพื่อหนีจากความวุ่นวายในเมืองใหญ่ คุณสามารถใช้เวลาที่เหลือเพื่อเข้าชมสวนกล้วยไม้จากสวนดอกไม้แห่งชาติสิงคโปร์ ณ the National Orchard Gardens
มีสิ่งมีชีวิตอยู่มากกว่า 3,000 สายพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของต้นไม้เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนซึ่งเป็นหัวใจหรือปอดของเมืองใหญ่ที่มีแต่ความวุ่นวายเหล่านี้ ไม่น่าแปลกใจที่จะมี นักวิ่ง, คนรำไทเก็ก และผู้ที่เข้ามานั่งเล่น และปิกนิกกันในสวนแห่งนี้ในช่วงวันหยุด ซึ่งเป็นการพักผ่อนที่ดี เพื่อหนีจากความวุ่นวายในเมืองใหญ่ คุณสามารถใช้เวลาที่เหลือเพื่อเข้าชมสวนกล้วยไม้จากสวนดอกไม้แห่งชาติสิงคโปร์ ณ the National Orchard Gardens

National Museum of Singapore
เป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิตแห่งหนึ่งของโลก ซึ่ง the National Museum of Singapore จะใช้ระบบ one-stop guide เพื่อบอกกล่าวถึงประวัติของประเทศสิงคโปร์และพื้นหลังทางวัฒนธรรม
เป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิตแห่งหนึ่งของโลก ซึ่ง the National Museum of Singapore จะใช้ระบบ one-stop guide เพื่อบอกกล่าวถึงประวัติของประเทศสิงคโปร์และพื้นหลังทางวัฒนธรรม

Clarke Quay
เป็นย่านธุรกิจการค้าที่รุ่งเรืองมากๆ มีคลังสินค้าขนาดใหญ่เพื่อเก็บสินค้าพิเศษต่างๆ และโหลดลงเรือขนาดเล็กและ plied the Singapore
River, Clarke Quay เป็นสถานที่หนึ่งที่น่าไปเที่ยวชม เพื่อให้ทราบถึงบรรยากาศการขนถ่ายสินค้าในปัจจุบันเป็นอย่างไร พื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น ได้ปรับเปลี่ยนให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวในเวลากลางคืนด้วย เช่น มีไนค์คลับ, บาร์ และร้านอาหารเพื่อเพิ่มบรรยากาศความคึกครื้นให้กับย่านนี้ตลอดทั้งปี
เป็นย่านธุรกิจการค้าที่รุ่งเรืองมากๆ มีคลังสินค้าขนาดใหญ่เพื่อเก็บสินค้าพิเศษต่างๆ และโหลดลงเรือขนาดเล็กและ plied the Singapore


ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น